การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย โดยที่ “เยาวชน” ในการศึกษาครั้งนี้หมายถึงผู้ที่มีอายุระหว่าง 15-24 ปี หรือเยาวชนกลุ่มดิจิทัล เนทีฟ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัยด้วยการศึกษาเอกสาร การสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาแบ่งตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในสังคมประชาธิปไตยออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ การรับข้อมูลเข้า และการส่งข้อมูลออก โดยตัวชี้วัดเกี่ยวกับ “การรับข้อมูลเข้า” ประกอบด้วยการมีทักษะในการเข้าถึงข้อมูล (Access) โดยสามารถเลือกรับข้อมูลข่าวสารและสื่อการเมืองจากแหล่งที่หลากหลาย...

Call No. : 302.231 ณ62ก 2563
Publisher : บริษัท เอ.พี. กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด
Published Date : พฤษภาคม 2563
Page : 152 หน้า , ภาพประกอบ , ตาราง , 23 ซม.
Rating :
Barcode Title of Copy Shelf location Status
A000024209 การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ตู้สถาบันพระปกเกล้า On shelf  Login 
A000024210 การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย ตู้สถาบันพระปกเกล้า On shelf  Login 

MARC Information

016 a : a - Record control number 
A000024209 
020 a : ISBN 
978-616-476-081-3 
040 b : b - Language of cataloging 
Tha 
050 b : Item/Issue No. 
ฉ.1 
082 a : Classification No. 
302.231 
090 a : Classification No2. 
ณ62ก 
092 a : Classification No3. 
2563 
245 a : Title 
การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย 
250 a : a - Edition statement 
พิมพ์ครั้งที่ 1 
260 c : Date of publication 
พฤษภาคม 2563 
260 b : Name of publisher 
บริษัท เอ.พี. กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด 
260 a : Place of publication 
นนทบุรี 
300 a : Total pages 
152 หน้า , ภาพประกอบ , ตาราง , 23 ซม. 
520 a : Description 
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย โดยที่ “เยาวชน” ในการศึกษาครั้งนี้หมายถึงผู้ที่มีอายุระหว่าง 15-24 ปี หรือเยาวชนกลุ่มดิจิทัล เนทีฟ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการวิจัยด้วยการศึกษาเอกสาร การสังเคราะห์แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการศึกษาแบ่งตัวชี้วัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในสังคมประชาธิปไตยออกเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ การรับข้อมูลเข้า และการส่งข้อมูลออก โดยตัวชี้วัดเกี่ยวกับ “การรับข้อมูลเข้า” ประกอบด้วยการมีทักษะในการเข้าถึงข้อมูล (Access) โดยสามารถเลือกรับข้อมูลข่าวสารและสื่อการเมืองจากแหล่งที่หลากหลาย... 

No Reviews

  1. There are no reviews yet, why not be the first.

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ หากคุณยังคงใช้ไซต์นี้ต่อไปหมายความว่าคุณยอมรับข้อกำหนดและเงื่อนไขและนโยบายความเป็นส่วนตัว.